Endurance

Endurance riding is an equestrian sport based on controlled long distance races. It is one of the international competitions recognized by the FEI. There are endurance rides worldwide. There are two main types of long distance riding, Competitive trail riding and endurance rides. In an Endurance ride, discussed in this article, the winning horse is the first one to cross the finish line while stopping periodically to pass a veterinary check that deems the animal in good health and \”fit to continue.\” In the United States, most endurance rides are either 50 or 100 miles long, though shorter rides are organized for beginners and a few longer, usually multi-day, rides exist. In the USA, the American Endurance Ride Conference (AERC) sanctions endurance rides.

Winning riders complete 100-mile rides in 10-12 hours. Any breed can compete, but the Arabian generally dominates the top levels because of the breed\’s stamina and natural endurance abilities. Competitive trail rides are shorter, and factors other than speed are considered, horses may not come in under or over a certain time, and veterinary checks, rider behavior and other elements play a role in the placings. Worldwide, rules vary. Endurance rides and races can be any distance, though rarely over 160km for a one-day competition.

Eventing

Introduction

Eventing competition encompasses three tests – Dressage, Cross-Country and Jumping. There are individual and team competitions. Each competitor rides the same horse on separate and consecutive days.

Rules

The first test is Dressage, to test the harmonious development of the horse\’s physique and ability. The score is converted into penalty points using a special formula. The second test is Cross-Country without steeplechase, where the horse is required to complete a set course of appr. 5.7km within an optimal time, clearing a variety of natural obstacles such as ditches, water, stone walls, benches as well as fallen trees. The third test is Jumping, which takes place on the third day, with an objective to test if the horses have retained their energy and obedience to jump a course of 10 to 13 obstacles.

For more details, please refer to competition format and rules. The French version is available here.

Judging

The winner of an Eventing competition is the competitor with the least penalties over the three tests. The winning team is the one with the lowest total penalty points, after adding together the final scores of the top 3 competitors in the team.

75 athletes were initially expected to compete in Eventing in 2008.

70 athletes from 24 nations are officially entered after the 1st horse inspection.

Eventing อีเวนท์ติ้ง

เป็นประเภทกีฬาขี่ม้าที่รวม เอา ทั้ง Dressage และ Show jumping มารวมกัน โดยเพิ่มในส่วนของ Cross Country หรือ การขี่ม้าในภูมิประเทศเข้าไปด้วย ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกีฬาว่ายน้ำประเภทผสม ซึ่งมีการรวมเอาหลายท่าไม่ว่าจะเป็นผีเสื้อ, Freestyle , กรรเชียงและกบมาแข่งขัน เฉกเช่นเดียวกับที่ Eventing กำหนดให้ผู้ขี่และม้าตัวเดิมจะต้องผ่านทั้ง Dressage, Cross Country และ Show jumping ในด่านสุดท้ายซึ่งใครที่ผ่านทั้ง 3 ด่านแล้วมีคะแนนเสียน้อยที่สุด จะเป็นผู้ชนะ กีฬาประเภทนี้ไม่สามารถแข่งจบภายในวันเดียว เพราะฉะนั้นผู้ชมจะต้องทราบผลคะแนนของแต่ละประเภท ของนักกีฬาและม้าแต่ละคน โดยดูได้จากบอร์ดคะแนน ซึ่งเมื่อกรรมการรวมคะแนนเสร็จแล้วจะนำมาประกาศภายหลังจากจบการแข่งขันในแต่ ละประเภทเพื่อให้ทราบทั่วกัน โดยเริ่มจากการแข่งขันใน Dressage ซึ่งการแข่งขันก็จะเหมือนกับ Dressage ทั่วไป เพียงแต่เอาคะแนนที่ทำได้ ลบด้วยคะแนนเต็มทั้งหมด ซึ่งจะเป็นคะแนนเสียสะสม ซึ่งจะไปรวมกับ คะแนนเสียในส่วนของ Cross Country ซึ่งม้า จะต้องวิ่งไปตาม Couse Plan ที่ผู้ออกแบบสนาม ได้กำหนดไว้และกระโดดข้ามเครื่องขวางที่ถูกสร้างขึ้นในภูมิประเทศที่แตกต่าง กันไป โดยที่ผู้ขี่และม้ามีสิทธิ์ที่จะปฏิเสธเครื่องได้ไม่เกิน 3 ครั้ง ซึ่งแต่ละครั้งจะถูกตัดคะแนน 20 คะแนน ในครั้งที่ 3 จะถูกให้ออกจากการแข่งขัน โดยจะปฏิเสธในเครื่องกีดขวางเครื่องเดียวกันได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ปฏิเสธครั้งที่ 1 คงเสีย 20 คะแนน ถ้ายังปฏิเสธครั้งที่ 2 อีกก็จะ เสียคะแนนเพิ่มอีก 40 คะแนน ถ้ายังมีครั้งที่ 3 ต้องถูกให้ออกจากการแข่งขัน ส่วนการตกม้าใน Cross Country นั้น ไม่อนุญาติให้มีการตกม้า ต้องออกจากการแข่งขันเท่านั้น โดยรายละเอียดของกติกาค่อนข้างจะซับซ้อนพอสมควร ถ้าจะศึกษากันจริง ๆ จะต้องเข้าอบรมเพราะรายละเอียดจะมีค่อนข้างเยอะ แต่ส่วนใหญ่ผลแพ้ชนะ ผู้ชมสามารถมาลุ้นเอาที่ประเภทสุดท้าย คือ Show jumping ได้ โดย ขอทราบรายละเอียดคะแนนของ 2 ประเภทแรกได้จากกรรมการ แล้วนำมาคิดรวม กับคะแนนเสียใน Show jumping วันสุดท้าย ซึ่งหลักการคิดในปัจจุบัน FEI. ปรับ ให้มีการคิดคะแนนเหมือนใน Show jumping ทั่วไป ซึ่งจะทำให้ผู้ชมเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ไม่สับสน ต่างกันนิดหน่อยตรงที่การคิดคะแนนเสียจากการใช้เวลาเกิน Time Allowed มีคะแนนเสียเพิ่ม วินาทีละ 1 คะแนน และอนุญาติให้ตกม้าได้ครั้งนึง โดยมีคะแนนเสีย 8 คะแนน แต่ถ้าตกม้าครั้งที่ 2 ต้องออกจากการแข่งขัน Elimination

Jumping

Introduction

Jumping competition dates back to the 19th century. The first Grand Prix jumping event held in Paris in 1866 enhanced the international status of the sport. Jumping became an Olympic discipline in 1900, with two categories – High Jump and Long Jump. In the early years, the military dominated the event until the first civilian won the gold medal in the 1952 Helsinki Games.

Rules

The rider and horse combination is required to clear a series of 10 to 13 obstacles in the prescribed order along a set course, to test the pair\’s skill, accuracy and training. The obstacles include vertical obstacles, spread obstacles, water jump, double/treble combinations as well as walls.

For more details, please refer to competition format and rules. The French version is available here.

Judging

– If the horse refuses to jump or knocks down the fence(s), the rider will incur 4 penalty points. If they exceed the time allowed, additional penalty points will be incurred.
– The horse and rider will be eliminated after a second refusal as well as any fall.
-The winner is the horse and rider combination with the least penalty points. In the case of a tie, the competitors will enter into a jump-off round to determine the ranking. In case of another tie, the combination with the fastest time wins.

After horse inspection, 77 athletes from 29 nations compete in Jumping in 2008.

Showjumping หรือ การขี่ม้ากระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง

กีฬาประเภทนี้ ได้รับความนิยมจากผู้ชมทั่วไป เป็นอย่างมาก เพราะมีความสนุก, ตื่นเต้น, เร้าใจ ตลอดจนเข้าใจง่าย ศึกษา กฎ กติกา คร่าว ๆ ก็พอจะเข้าใจ ซึ่งหลักจริง ๆ มีอยู่ไม่เท่าไหร่ สามารถลองให้คะแนนเอง ร่วมไปกับกรรมการได้ อีกทั้งเมื่อผู้เข้าแข่งขัน แข่งเสร็จในแต่ละคนผู้บรรยายสนามจะสรุปคะแนนให้ฟัง ซึ่งผู้ชมสามารถจดบันทึกตามไปด้วย ประกอบการชมการแข่งขัน จะทำให้เกิดอรรถรสในการชมการแข่งขันมากยิ่งขึ้นไปด้วย โดยกติกาง่าย ๆ โดยเริ่มจากผู้เข้าแข่งขันทุกคนมีคะแนนเสียเท่ากัน คือ 0 คะแนนในตอนเริ่ม โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องนำม้าของตน กระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง ตามหมายเลขเครื่องและแบบของสนาม ซึ่งผู้ออกแบบสนาม(Couse Designer) เป็นผู้ออกแบบไว้ จนครบ โดยใครที่มีคะแนนเสียน้อยที่สุดจะเป็นผู้ชนะ

ทีนี้ลองมาดูกันครับว่า คะแนนเสียในการแข่งขันเกิดขึ้นได้จากอะไรบ้าง
– คะแนนเสียจากการกระโดด
– ม้าเตะเครื่องตกพื้น ซึ่งจะมีคะแนนเสียเครื่องละ 4 คะแนน โดยเครื่องตกกี่เครื่อง ก็คูณ 4 เข้าไป
– ม้าปฏิเสธเครื่อง โดยเบรคหน้าเครื่องกีดขวาง หรือ หลบออกทางข้างทั้งซ้ายและขวา โดย ถ้าปฏิเสธครั้งที่ 1 จะเสีย 4 คะแนน เช่นเดียวกับเตะเครื่องตก แต่ถ้าเกิดปฏิเสธครั้งที่ 2 แสดงว่าม้าไม่พร้อมที่จะแข่งขัน ต่อไป ต้องถูกให้ออกจากการแข่งขัน ( Elimination )
– คะแนนเสียจากการใช้เวลาเกิน ก่อนการแข่งขันจะเริ่มขึ้น ผู้บรรยายสนาม จะประกาศให้ทราบถึง เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน ด้วยกัน 2 ประเภทเวลา คือ
– เวลาที่ยินยอม ( Time Allowed ) ผู้เข้าแข่งขันจะต้องทำเวลาในการผ่านจากเส้นเริ่มต้น ( Start Line ) จนถึงเส้นจบ ( Finish Line ) น้อยกว่าเวลา Time Allowed ที่กำหนด แต่ถ้าใช้เวลาเกิน จะมีคะแนนเสียเพิ่มขึ้น อีก 4 วินาทีต่อ 1 คะแนน ยกตัวอย่างเช่น Time Allowed คือ 97 วินาที แต่ นาย ก กับม้า A ทำเวลาได้ 99วินาที ซึ่งเกิน Time Allowed 2 วินาท(อยู่ใน 4 วินาทีแรก) ก็จะทำให้ นาย ก กับม้า A มีคะแนนเสียเพิ่มจากคะแนนเสียจากการกระโดด อีก 1 คะแนน …ใน Case เดียวกัน หาก นาย ข กับม้า B ทำเวลาได้ 103 วินาที ซึ่งเกิน Time Allowed 7 วินาที (อยู่ใน 4 วินาทีที่สอง) ก็จะทำให้นาย ข กับม้า B มีคะแนนเสียเพิ่มจากการกระโดด อีก 2 คะแนน เป็นต้น
– Time Limit หรือเวลาที่กำหนดจะเท่ากับ 2 เท่าของ Time Allowed ยกตัวอย่างเช่น Time Allowed เท่ากับ 97 วินาที ดังนั้น Time Limit จะเท่ากับ 194 วินาที เป็นต้น ผู้ขี่ม้าจะต้องทำเวลาได้ภายใน Time Limit ที่กำหนด ถ้าเกินแม้แต่เสี้ยววินาทีเดียวจะต้องออกจากการแข่งขัน (Elimination)
– ถ้าผู้เข้าแข่งขันตกม้า ต้องถูกออกจากการแข่งขัน( Elimination)

Dressage

Introduction

Dressage, derived from the French word “dresser” meaning “to train”, dates back to the Renaissance Era, when it gained recognition as a good training method for European cavalries. This competition tests the obedience and agility of the horse and its coordination with its rider. The rider and horse combination is required to perform a series of carefully designed, graceful movements, and as a result, Dressage is often called “equestrian ballet”.

Rules

The rider and the horse are required to perform three rounds of competition in a 20m x 60m flat arena:
– The first two rounds are movements set by the F?d?ration Equestre Internationale (FEI)
– The last round is freestyle-to-music – the rider and the horse will freely interpret self-choreographed movements to the music of their choice.

For more details, please refer to competition format and rules. The French version is available here.

Judging

– The judges will give a mark on the quality of each movement of the combination. The maximum mark for each movement is 10.
– The winner is the one with the highest total marks for the whole competition.

50 athletes were initially expected to compete in Dressage in 2008. 49 athletes from 11 nations are officially entered after horse inspection.

Dressage หรือ ที่เรียกว่า ศิลปะการบังคับม้า

เมื่อ กล่าวถึงกีฬาประเภทนี้ อยากให้ผู้อ่านลองนึกภาพ การขี่ม้าที่ผู้ขี่แต่งกายสวย ๆใส่ชุดทักซิโด้, หมวกทรงสูง ( Top Hat ) ตลอดจนมีการถักเปียที่ขนแผงคอม้าและที่หางเป็นต้น ผู้แข่งขันจะบังคับม้าของตนปฏิบัติตามคำสั่งที่กรรมการได้แจกจ่ายไปไว้ ก่อนล่วงหน้า ยกตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนฝีเท้าม้าในการวิ่งตามจุดบังคับต่างๆ รวมถึงลักษณะการย่างก้าวของม้า ซึ่งใครบังคับม้าของตนได้อย่างสวยงาม แต่ละท่าทางได้เข้าตากรรมการมากกว่ากัน คนนั้นก็จะเป็นผู้ชนะ เฉกเช่นเดียวกับ กีฬายิมนาสติก ประเภท Floor Exercise ซึ่งบางครั้งไม่ง่ายนักที่จะเดาใจกรรมการได้ว่าใครจะเป็นผู้ชนะ สำหรับกีฬาประเภทนี้เรา ๆ ในส่วนของคนดู คงได้แต่เอาใจช่วยนักกีฬาและม้าที่เราชื่นชอบ เท่านั้นแหละครับ ส่วนการตัดสินแพ้ชนะ ปล่อยให้เป็นเรื่องของกรรมการเขาดีกว่า เพราะถ้าผลคะแนนออกมาไม่ตรงกับใจเราจะเกิดกรณี ? ม้าแพ้คนไม่แพ้ ? ขึ้นม้าอีก ซึ่งมีให้เห็นกันบ่อยในบ้านเรา